เมื่อนึกถึงประเทศอียิปต์ เราก็คงนึกถึงพีระมิดโบราณหลายแห่งที่ผุดขึ้นมาท่ามกลางทะเลทราย กับอูฐ
ที่คอยนำนักท่องเที่ยวเดินทางชมพีระมิด ตื่นตะลึงกับผลงานการรังสรรค์ของชาวอียิปต์โบราณที่ทุ่มแท
แรงกายแรงใจก่อสร้างสถานสถิตแห่งร่างกายและสะพานแห่งดวงวิญญาณกษัตริย์ที่เดินทางกลับจาก
โลกอีกโลกหนึ่ง ตามความเชื่อ "โลกหน้า" ของชาวอียิปต์โบราณ
ที่คอยนำนักท่องเที่ยวเดินทางชมพีระมิด ตื่นตะลึงกับผลงานการรังสรรค์ของชาวอียิปต์โบราณที่ทุ่มแท
แรงกายแรงใจก่อสร้างสถานสถิตแห่งร่างกายและสะพานแห่งดวงวิญญาณกษัตริย์ที่เดินทางกลับจาก
โลกอีกโลกหนึ่ง ตามความเชื่อ "โลกหน้า" ของชาวอียิปต์โบราณ
พีระมิดนับเป็นสิ่งมหัศจรรย์ 1 ใน 10 สิ่งมหัศจรรย์ยุคโบราณ ด้วยความเก่าแก่
และยิ่งใหญ่ ที่ยังคงยืนหยัดข้ามกาลเวลาจากเมื่อ 5,000 ปีที่แล้วมาถึงปัจจุบันได้ เช่น พีระมิดคีออปส์
ที่เป็นสถานเก็บพระศพพระเจ้าคีออปส์ หรือ พระเจ้าคูฟู ที่มีพระบัญชาให้บรรดาทาสและพลเมืองชาว
อียิปต์สร้างขึ้นมาเมื่อ 3,500 ปี ก่อนคริสตกาล ก่อนที่พระองค์จะสิ้นพระชนม์ เพื่อใช้สถานที่นี้เป็น
ที่สุดท้ายของพระองค์ในโลกนี้
และยิ่งใหญ่ ที่ยังคงยืนหยัดข้ามกาลเวลาจากเมื่อ 5,000 ปีที่แล้วมาถึงปัจจุบันได้ เช่น พีระมิดคีออปส์
ที่เป็นสถานเก็บพระศพพระเจ้าคีออปส์ หรือ พระเจ้าคูฟู ที่มีพระบัญชาให้บรรดาทาสและพลเมืองชาว
อียิปต์สร้างขึ้นมาเมื่อ 3,500 ปี ก่อนคริสตกาล ก่อนที่พระองค์จะสิ้นพระชนม์ เพื่อใช้สถานที่นี้เป็น
ที่สุดท้ายของพระองค์ในโลกนี้
พีระมิดคีออปส์ได้ชื่อว่าเป็นพีระมิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก มีการประเมินว่า
เมื่อแรกสร้างพีระมิดแห่งนี้มีความสูง 481 ฟุต หรือประมาณ 160 เมตร กว้าง 768 ฟุต หรือประมาณ
256 เมตร สร้างขึ้นมาจากหินทรายขนาดใหญ่นำมาเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ จนได้เหลี่ยมได้มุม 4 ด้าน
ว่ากันว่าหินแต่ละก้อนที่นำมาใช้มีน้ำหนักถึง 2.5 ตัน และเมื่อรวมน้ำหนักหินทั้งหมดที่นำมาสร้างก็อยู่
ที่ประมาณ 6 ล้านตัน
เมื่อแรกสร้างพีระมิดแห่งนี้มีความสูง 481 ฟุต หรือประมาณ 160 เมตร กว้าง 768 ฟุต หรือประมาณ
256 เมตร สร้างขึ้นมาจากหินทรายขนาดใหญ่นำมาเรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ จนได้เหลี่ยมได้มุม 4 ด้าน
ว่ากันว่าหินแต่ละก้อนที่นำมาใช้มีน้ำหนักถึง 2.5 ตัน และเมื่อรวมน้ำหนักหินทั้งหมดที่นำมาสร้างก็อยู่
ที่ประมาณ 6 ล้านตัน
นักวิทยาศาสตร์ต่างสงสัยกันมานานแล้วว่า ชาวอียิปต์เคลื่อนย้ายหินขนาดใหญ่
น้ำหนักกว่า 2 ตัน ข้ามผ่านทะเลทรายที่ทุรกันดารจากแหล่งหินที่เชื่อว่าอยู่ห่างไปหลายสิบกิโลเมตร
ได้อย่างไร มีการตั้งทฤษฎีขึ้นมาหลากหลายตั้งแต่การเคลื่อนหินไปบนท่อนไม้หลายๆ ท่อน ให้ท่อนไม้
กลิ้งตัวนำหินผ่านพื้นทรายที่ร้อนระอุไป ซึ่งวิธีการดังกล่าวต้องใช้ทาสและแรงงานนับแสนคนและเวลา
นับสิบปีกว่าจะสร้างพีระมิดขึ้นมาได้
น้ำหนักกว่า 2 ตัน ข้ามผ่านทะเลทรายที่ทุรกันดารจากแหล่งหินที่เชื่อว่าอยู่ห่างไปหลายสิบกิโลเมตร
ได้อย่างไร มีการตั้งทฤษฎีขึ้นมาหลากหลายตั้งแต่การเคลื่อนหินไปบนท่อนไม้หลายๆ ท่อน ให้ท่อนไม้
กลิ้งตัวนำหินผ่านพื้นทรายที่ร้อนระอุไป ซึ่งวิธีการดังกล่าวต้องใช้ทาสและแรงงานนับแสนคนและเวลา
นับสิบปีกว่าจะสร้างพีระมิดขึ้นมาได้
แต่เมื่อเร็วๆ นี้นักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยอัมสเตอร์ดัมร่วมกับนักวิทยาศาสตร์
จากหลายประเทศ ประกาศว่า สามารถไขปริศนาการเคลื่อนย้ายหินทรายขนาดใหญ่ผ่านทะเลทรายเพื่อ
มาสร้างพีระมิดได้แล้ว
จากหลายประเทศ ประกาศว่า สามารถไขปริศนาการเคลื่อนย้ายหินทรายขนาดใหญ่ผ่านทะเลทรายเพื่อ
มาสร้างพีระมิดได้แล้ว
ปัจจัยสำคัญที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายหินก็คือ "ทราย และ น้ำ" นักวิทยาศาสตร์กลุ่มนี้
อธิบายว่า การใช้ทรายเปียกน้ำเคลื่อนย้ายของหนักๆ จะเป็นไปได้ง่ายขึ้น เพราะแรงเสียดทานบนพื้นผิว
เมื่อเทียบกับทรายแห้งจะลดลงไปกว่าครึ่ง การลากเลื่อนที่บรรทุกหินทรายก็จะทำได้สะดวก (แต่ไม่สบาย)
มากขึ้นนั่นเอง
อธิบายว่า การใช้ทรายเปียกน้ำเคลื่อนย้ายของหนักๆ จะเป็นไปได้ง่ายขึ้น เพราะแรงเสียดทานบนพื้นผิว
เมื่อเทียบกับทรายแห้งจะลดลงไปกว่าครึ่ง การลากเลื่อนที่บรรทุกหินทรายก็จะทำได้สะดวก (แต่ไม่สบาย)
มากขึ้นนั่นเอง
ทีมนักวิทยาศาสตร์ยังแสดงให้เห็นว่า การลากก้อนน้ำหนักบนเลื่อนบนทรายแห้งกับ
ทรายเปียกนั้นต่างกันอย่างชัดเจน แต่ก็ต้องระวังไม่ให้ทรายนั้นเปียกจนเกินไป มิเช่นนั้นแรงตึงผิวบนทราย
ทรายเปียกนั้นต่างกันอย่างชัดเจน แต่ก็ต้องระวังไม่ให้ทรายนั้นเปียกจนเกินไป มิเช่นนั้นแรงตึงผิวบนทราย
เปียกโชกจะกลับก่อให้เกิดแรงเสียดทานขึ้นมาแทน ซึ่งปริมาณน้ำที่เหมาะสมในการเคลื่อนย้ายวัตถุ
บนทรายอยู่ที่ราว 2-5% ของปริมาณทราย
บนทรายอยู่ที่ราว 2-5% ของปริมาณทราย
ที่น่าสมเพชคือ ชาวอียิปต์โบราณได้อธิบายวิธีการเคลื่อนย้ายหินหนักๆ โดยใช้ทรายเปียก
ไว้บนรูปวาดในสุสานกษัตริย์ Djehutihotep ไว้เมื่อนานมาแล้ว แต่คนรุ่นใหม่กลับตีความไม่ออกและพยายาม
ค้นหาวิธีการไขปริศนาของชาวอียิปต์โบราณด้วยวิธีต่างๆ โดยไม่ได้สนใจกับการตีความภาพนี้อย่างตรงไป
ไว้บนรูปวาดในสุสานกษัตริย์ Djehutihotep ไว้เมื่อนานมาแล้ว แต่คนรุ่นใหม่กลับตีความไม่ออกและพยายาม
ค้นหาวิธีการไขปริศนาของชาวอียิปต์โบราณด้วยวิธีต่างๆ โดยไม่ได้สนใจกับการตีความภาพนี้อย่างตรงไป
ตรงมา เพราะหลงไปกับมโนคติของนักอียิปต์วิทยาที่ตีความว่า การรดน้ำเป็นส่วนหนึ่งของความเชื่อที่ว่าเป็น
การสร้างความบริสุทธิ์ให้เกิดขึ้นบนพื้นดิน ทำให้ไม่เคยมีการตีความภาพที่มีคำอธิบายอย่างง่ายๆ ในทาง
วิทยาศาสตร์แต่อย่างใด
การสร้างความบริสุทธิ์ให้เกิดขึ้นบนพื้นดิน ทำให้ไม่เคยมีการตีความภาพที่มีคำอธิบายอย่างง่ายๆ ในทาง
วิทยาศาสตร์แต่อย่างใด
ภาพและข้อมูลจาก http://www.komchadluek.net/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น